วันอังคารที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

วิชาเลือกเพิ่มเติม                                                                                                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

วิชา การใช้ห้องสมุด                                                                                          เวลา  40  ชั่วโมง

เรื่อง  การเลือกและการจัดหาวัสดุสารนิเทศ                                 เวลา  4  ชั่วโมง

ครูผู้สอน นางพิชชาภา  สุนทรสถิตย์                                                            โรงเรียนประสาทรัฐประชากิจ

 

1.สาระสำคัญ

ปัจจุบันมีวัสดุสารนิเทศจำนวนมากเนื่องจากเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย  แต่ห้องสมุดมีงบประมาณจำกัด จึงต้องจำเป็นต้องพิจารณาคัดเลือกวัสดุสารนิเทศที่มีคุณค่าเข้าห้องสมุดและให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้บริการ  สิ่งสำคัญต้องคำนึงถึงและยึดเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน คือ นโยบายและหลักเกณฑ์และการเลือกวัสดุสารนิเทศ

2.ผลการเรียนรู้

            2.1   นักเรียนสามารถเลือกและจัดหาวัสดุสารนิเทศตรงตามความต้องการ

3.สาระการเรียนรู้

1.การเลือกและการจัดหาวัสดุสารนิเทศ

ปัจจุบันมีวัสดุสารนิเทศจำนวนมากเนื่องจากเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย แต่ห้องสมุดมีงบประมาณจำกด  จึงจำเป็นต้องพิจารณาคัดเลือกวัสดุสารนิเทศที่มีคุณค่าเข้าห้องสมุดและตรงตามความต้องการของผู้ใช้บริการ สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึงและยึดเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน คือ นโยบายและหลักเกณฑ์การเลือกวัสดุสารนิเทศ

1.1   นโยบายในการเลือกวัสดุสารนิเทศ

นโยบายในการเลือกวัสดุสารนิเทศ  หมายถึง การกำหนดหรือวางแผนแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ในการเลือกวัสดุสารนิเทศ  ต้องกำหนดเป็นลายลักษณ์อักษรให้ชัดเจนเพื่อให้บุคคลที่เกี่ยวข้องได้ยึดถือเป็นหลักหรือแนวทางในการปฏิบัติได้ถูกต้อง การกำหนดนโยบายในการเลือกวัสดุสารนิเทศของห้องสมุดแต่ละประเภทแต่ละแห่งย่อมแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ หน้าที่ นโยบาย และการให้บริการของแต่ละหน่วยงาน นโยบายในการเลือกวัสดุสารนิเทศมักจะกำหนดข้อปฏิบัติในด้านต่างๆดังต่อไปนี้

1.1.1                                                               ผู้เลือก กำหนดตัวเลือกว่ามีผู้ใดบ้าง เช่น บรรณารักษ์  ครูอาจารย์

นักเรียน คณะกรรมการห้องสมุด หรือทุกฝ่ายร่วมมือกันรับผิดชอบ และอำนาจในการพิจารณาตัดสินขั้นสุดท้าย ควรอยู่ที่ใคร เป็นต้น

1.1.2                                                               วัตถุประสงค์ในการเลือก จะต้องกำหนดให้ชัดเจน เช่น กำหนด

ว่าห้องสมุดจะเลือกหนังสือเพื่อสนองความต้องการของครูอาจารย์ นักเรียน หรือเลือกเฉพาะหนังสือที่ดีที่สุดและตรงตามหลักสูตรที่มีการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษานั้น ๆ เท่านั้น เป็นต้น

1.1.3                                                               วิธีการเลือกและพิจารณาคุณค่าของวัสดุสารนิเทศ  ควรกำหนด

วิธีการกำหนดวิธีการเลือกและวางหลักเกณฑ์ที่จะใช้พิจารณาเลือกหนังสือและวัสดุประเภทต่างๆ ชัดเจน

1.1.4                                                               ประเภทวัสดุสารนิเทศ  ควรกำหนดว่าห้องสมุดจะรวบรวมวัสดุ

ประเภทใดบ้าง เช่น ควรมีเฉพาะหนังสือหรือวารสาร  หรือจะต้องมีสิ่งพิมพ์รัฐบาล เอกสารเฉพาะวิชาต่างๆ โสตทัศนวัสดุฯลฯ เป็นจำนวนมากน้อยเพียงน้อย เป็นต้น

4.การบูรณาการกับหลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

                1.ความพอประมาณ

-   ผู้เรียนได้เรียนรู้การจัดสรรเวลา ให้เกิดประโยชน์  ประหยัดและคุ้มค่า

-   ผู้เรียนเรียนรู้ในการทำกิจกรรม ภาระงานได้เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถตามวัยของผู้เรียน

                2.ความมีเหตุมีผล

-   ส่งเสริมกระบวนการทำงาน การคิด การแก้ปัญหาในการทำงานและชีวิตประจำวัน

                -   ได้ฝึกการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

                3.   การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี

-   รู้จักการวางแผน กระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบให้ประสบความสำเร็จ

-   ปลูกฝังจิตสำนึกเรื่องคัดเลือกและจัดหาวัสดุสารนิเทศ

-   ได้ฝึกทักษะกระบวนการทำงานของตนเองร่วมกับผู้อื่นอย่างปลอดภัย

                4.เงื่อนไขความรู้

-   รอบรู้ เกี่ยวกับคัดเลือกและจัดหาวัสดุสารนิเทศ

                -   เกี่ยวกับปฏิบัติตนในการใช้ห้องสมุดได้ถูกต้อง

                5.เงื่อนไขคุณธรรม

-   มีความขยันมั่นเพียร  รับผิดชอบ ความอดทน เพียรพยายามในการทำงาน และตรงต่อเวลา

5.กิจกรรมการเรียนการสอน

คาบเรียนที่  1-2

                                1.   นักเรียนและครูสนทนาเกี่ยวกับการเลือกวัสดุสารนิเทศว่าได้มาจากแหล่งใดบ้าง

                                2.   ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าประเภทวัสดุสารนิเทศใดที่มีความรู้

หลากหลายมากที่สุด

                                3.   ให้นักเรียนสำรวจทรัพยากรวัสดุสารนิเทศในห้องสมุด มีอะไรบ้างกี่ประเภท 

    คาบเรียนที่  3-4

                                1.  ครูอธิบายความหมายและการเลือกวัสดุสารนิเทศให้นักเรียนทราบ

                                2.  นักเรียนบอกการเลือกวัสดุสารนิเทศและครูอธิบายเพิ่มเติม

                                3.  ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงการเลือกวัสดุสารนิเทศโดยให้นักเรียนช่วยกันบอกถึงการเลือกวัสดุสารนิเทศของห้องสมุด              

                4. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปหลักเกณฑ์ในการเลือกและการจัดหาวัสดุสารนิเทศ

6.สื่อการเรียนการสอน

                1. ใบคำสั่ง                                                          

                2. ใบความรู้        

                3.  ใบงาน                                            

                4.  เฉลยใบงาน   

7.แหล่งเรียนรู้

                1.  ห้องสมุดโรงเรียน

                2.  อินเตอร์เน็ตจากศูนย์สารสนเทศของโรงเรียน

8.การวัดและประเมินผล

                วิธีการวัด/สิ่งที่ต้องวัด

                1.  บันทึกการสังเกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรรมกลุ่ม  และการนำเสนอผลงาน

                2.  บันทึกการสัมภาษณ์การร่วมกิจกรรมในการจัดการเรียนรู้

                3.  ตรวจแบบฝึกหัดท้ายแผนการจัดการเรียนรู้

                เครื่องมือการวัด

                                1. แบบสังเกตพฤติกรรม

                                2. ใบงาน

                                3. แบบฝึกหัดท้ายแผนการจัดการเรียนรู้

 

การประเมินผล

     1.  เกณฑ์ผ่านการประเมินใบงานได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป

       2.  เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน

                                3 = ดี                      2 = พอใช้             1 = ต้องปรับปรุง

 

 

 

 

9.กิจกรรมเสนอแนะ

..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

10.ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหารโรงเรียน

....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

                                                                               

                                (ลงชื่อ).................................................                                        

                                     (นายมงคล   ชื่นชม)

                                   ผู้อำนวยการโรงเรียนประสาทรัฐประชากิจ

                                       ............./............../.............

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

11.บันทึกผลหลังการสอน

ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้  

....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................

ปัญหาและอุปสรรค

....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................

แนวทางแก้ไข 

....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................

 

 

 

                                                                (ลงชื่อ)                                                  ครูผู้สอน

                                                                (นางพิชชาภา   สุนทรสถิตย์)

                                                                ............./............/............

 

 

 

 

 

 

 

 

แบบสังเกตพฤติกรรม (ครูประเมิน)

********************************

คำชี้แจง           แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน  สำหรับครูประเมินนักเรียน

                   ขณะปฏิบัติกิจกรรมโครงงาน

                        ระดับ  3                         หมายถึง    นักเรียนมีพฤติกรรมในระดับดีมาก

                                ระดับ   2          หมายถึง     นักเรียนมีพฤติกรรมในระดับ ดี

                                ระดับ   1          หมายถึง     นักเรียนมีพฤติกรรมในระดับ ควรปรับปรุง

 
 
 
ชื่อ - สกุล
ความระตือรือร้น(3)
ความรับผิดชอบ(3)
ปรึกษาหารือในกลุ่ม(3)
ความร่วมมือในกลุ่ม(3)
ตั้งใจทำกิจกรรมใบงาน(3)
พูดแสดงความคิดเห็น(3)
มีความคิดริเร่มสร้างสรรค์(3)
แสดงความคิดเห็น(3)
รวมคะแนน(24)
1
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2
 
 
 
 
 
 
 
 
 
3
 
 
 
 
 
 
 
 
 
4
 
 
 
 
 
 
 
 
 
5
 
 
 
 
 
 
 
 
 
6
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7
 
 
 
 
 
 
 
 
 
8
 
 
 
 
 
 
 
 
 
9
 
 
 
 
 
 
 
 
 
10
 
 
 
 
 
 
 
 
 
11
 
 
 
 
 
 
 
 
 
12
 
 
 
 
 
 
 
 
 
14
 
 
 
 
 
 
 
 
 
15
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 

                                                                ลงชื่อ……………………………….ผู้ประเมิน

                                                                        (……………………………….)

ใบคำสั่งที่  1
 
 


 


คำชี้แจง 

      1. ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ตามที่ครูกำหนด  ให้แล้วเสร็จภายใน  10  นาที 

      2. ให้นักเรียนร่วมกันทำใบงาน  ให้เสร็จภายใน  10  นาที

      3. นักเรียนตรวจคำตอบจากใบเฉลย 

      4. เก็บรวบรวมใบความรู้  ใบงาน  และใบเฉลย  ใส่ซองส่งครูให้เรียบร้อย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ใบความรู้ที่  1
 
 


 


คำชี้แจง  ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ ตามที่ครูกำหนด  ให้แล้วเสร็จภายใน  10  นาที  

                  หลังจากนั้นให้ร่วมกันทำใบงาน

 

1.การเลือกและการจัดหาวัสดุสารนิเทศ

ปัจจุบันมีวัสดุสารนิเทศจำนวนมากเนื่องจากเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย แต่ห้องสมุดมีงบประมาณจำกด  จึงจำเป็นต้องพิจารณาคัดเลือกวัสดุสารนิเทศที่มีคุณค่าเข้าห้องสมุดและตรงตามความต้องการของผู้ใช้บริการ สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึงและยึดเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน คือ นโยบายและหลักเกณฑ์การเลือกวัสดุสารนิเทศ

1.1   นโยบายในการเลือกวัสดุสารนิเทศ

นโยบายในการเลือกวัสดุสารนิเทศ  หมายถึง การกำหนดหรือวางแผนแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ในการเลือกวัสดุสารนิเทศ  ต้องกำหนดเป็นลายลักษณ์อักษรให้ชัดเจนเพื่อให้บุคคลที่เกี่ยวข้องได้ยึดถือเป็นหลักหรือแนวทางในการปฏิบัติได้ถูกต้อง การกำหนดนโยบายในการเลือกวัสดุสารนิเทศของห้องสมุดแต่ละประเภทแต่ละแห่งย่อมแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ หน้าที่ นโยบาย และการให้บริการของแต่ละหน่วยงาน นโยบายในการเลือกวัสดุสารนิเทศมักจะกำหนดข้อปฏิบัติในด้านต่างๆดังต่อไปนี้

1.1.1                                                               ผู้เลือก กำหนดตัวเลือกว่ามีผู้ใดบ้าง เช่น บรรณารักษ์  ครูอาจารย์

นักเรียน คณะกรรมการห้องสมุด หรือทุกฝ่ายร่วมมือกันรับผิดชอบ และอำนาจในการพิจารณาตัดสินขั้นสุดท้าย ควรอยู่ที่ใคร เป็นต้น

1.1.2                                                               วัตถุประสงค์ในการเลือก จะต้องกำหนดให้ชัดเจน เช่น กำหนด

ว่าห้องสมุดจะเลือกหนังสือเพื่อสนองความต้องการของครูอาจารย์ นักเรียน หรือเลือกเฉพาะหนังสือที่ดีที่สุดและตรงตามหลักสูตรที่มีการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษานั้น ๆ เท่านั้น เป็นต้น

1.1.3                                                               วิธีการเลือกและพิจารณาคุณค่าของวัสดุสารนิเทศ  ควรกำหนด

วิธีการกำหนดวิธีการเลือกและวางหลักเกณฑ์ที่จะใช้พิจารณาเลือกหนังสือและวัสดุประเภทต่างๆ ชัดเจน

1.1.4                                                               ประเภทวัสดุสารนิเทศ  ควรกำหนดว่าห้องสมุดจะรวบรวมวัสดุ

ประเภทใดบ้าง เช่น ควรมีเฉพาะหนังสือหรือวารสาร  หรือจะต้องมีสิ่งพิมพ์รัฐบาล เอกสารเฉพาะวิชาต่างๆ โสตทัศนวัสดุฯลฯ เป็นจำนวนมากน้อยเพียงน้อย เป็นต้น

                1.2   หลักการเลือกหนังสือ

                                1.2.1   ในการเลือกและซื้อหนังสือ ควรเลือกให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ

                                ห้องสมุด

1.2.2   การจัดสรรงบประมาณ พิจารณาจัดสรรงบประมาณเพื่อการจัดซื้อหนังสือให้ได้สัดส่วนสมดุลกันในทุกสาขาวิชา ตามความต้องการของผู้ใช้ห้องสมุด ตามความสำคัญและตามความจำเป็น

1.2.3   เลือกหนังสือที่มีเนื้อหาและภาพที่ไม่เป็นพิษเป็นภัยต่อสังคมหรือขัดข้องต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน ไม่ก่อกวนความเรียบร้อยสงบสุขของสังคม

1.2.4   เลือกหนังสือที่มีวิธีเขียนและเนื้อหาเหมาะแก่ระดับความรู้และความเข้าใจของผู้ใช้ห้องสมุด  บรรณารักษ์จึงต้องตระหนักอยู่เสมอว่ากำลังเลือกหนังสือสำหรับห้องสมุดประเภทใดและใครเป็นผู้ใช้ห้องสมุด

1.2.5   เลือกหนังสือที่มีเนื้อหาและข้อมูลต่างๆ  ถูกต้อง เชื่อถือได้และทันเหตุการณ์

1.2.6  พิจารณาคุณค่าของหนังสือนั้นๆ โดยอาศัยหลักการประเมินคุณค่าหนังสือแต่ละประเภทมาประกอบการพิจารณา กล่าวคือ

                1)   หนังสือประเภทวิชาการหรือตำรา  หนังสือประเภทนี้เนื้อหาจะต้องมีความถูกต้องไม่แย้งกันเอง  ข้อมูลทันสมัย มีวิธีเขียนเหมาะแก่ระดับของผู้ใช้  ใช้ภาษาชัดเจน  เนื้อหาลำดับ  ขั้นตอนสัมพันธ์กันดี  มีภาพ ตาราง สารบัญ ดรรชนี เชิงอรรถ บรรณานุกรม ช่วยกันค้นได้ง่าย

                2)   หนังสือประเภทสารคดี  เป็นหนังสือที่เสนอสาระด้วยวิธีการเขียนที่ชวนอ่านแตกต่างจากหนังสือประเภทวิชาการหรือตำรา ซึ่งมุ่งเน้นเนื้อหาลึกซึ้งหรือตามหลักสูตร  หนังสือสารคดีอาจมีการแทรกความคิดหรือการวิจารณ์ที่ชวนให้ผู้อ่านติดตามต่อไปด้วย   สิ่งที่ควรพิจารณาพิ่มเติมคือ  ความรู้ที่จะให้ต้องมีคุณค่าในทางสร้างสรรค์  เสริมสร้างคุณธรรมและค่านิยมที่ดี  สร้างความเจริญงอกงามและปลูกฝังอดมคติให้เกิดขึ้นในจิตใจ

                3)   หนังสือบันเทิงคดีเป็นหนังสือที่เขียนขึ้นจากจินตนาการของผู้เขียน ซึ่งต้องการให้ความบันเทิงและความเพลิดเพลินแก่ผู้อ่านเป็นหลัก อาจสอดแทรกความรู้และความคิดต่างๆ ไว้ด้วย แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ได้

 

 

 

 

ใบงานที่  1
 
 


 


เรื่อง         การเลือกและการจัดหาวัสดุสารนิเทศ

 

ชื่อ ...............................................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่........

 

คำชี้แจง    ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันตอบคำถาม ดังต่อไปนี้

 

1.  การเลือกและการจัดหาวัสดุสารนิเทศ หมายถึงอะไร

 ..............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................

............................................................................................................................................... ..............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................

 

เฉลยใบงานที่  1
 
ใบงานที่  1


 

1.การเลือกและการจัดหาวัสดุสารนิเทศ

ปัจจุบันมีวัสดุสารนิเทศจำนวนมากเนื่องจากเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย แต่ห้องสมุดมีงบประมาณจำกด  จึงจำเป็นต้องพิจารณาคัดเลือกวัสดุสารนิเทศที่มีคุณค่าเข้าห้องสมุดและตรงตามความต้องการของผู้ใช้บริการ สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึงและยึดเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน คือ นโยบายและหลักเกณฑ์การเลือกวัสดุสารนิเทศ

1.1   นโยบายในการเลือกวัสดุสารนิเทศ

นโยบายในการเลือกวัสดุสารนิเทศ  หมายถึง การกำหนดหรือวางแผนแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ในการเลือกวัสดุสารนิเทศ  ต้องกำหนดเป็นลายลักษณ์อักษรให้ชัดเจนเพื่อให้บุคคลที่เกี่ยวข้องได้ยึดถือเป็นหลักหรือแนวทางในการปฏิบัติได้ถูกต้อง การกำหนดนโยบายในการเลือกวัสดุสารนิเทศของห้องสมุดแต่ละประเภทแต่ละแห่งย่อมแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ หน้าที่ นโยบาย และการให้บริการของแต่ละหน่วยงาน นโยบายในการเลือกวัสดุสารนิเทศมักจะกำหนดข้อปฏิบัติในด้านต่างๆดังต่อไปนี้

1.1.1                                                               ผู้เลือก กำหนดตัวเลือกว่ามีผู้ใดบ้าง เช่น บรรณารักษ์  ครูอาจารย์

นักเรียน คณะกรรมการห้องสมุด หรือทุกฝ่ายร่วมมือกันรับผิดชอบ และอำนาจในการพิจารณาตัดสินขั้นสุดท้าย ควรอยู่ที่ใคร เป็นต้น

1.1.2                                                               วัตถุประสงค์ในการเลือก จะต้องกำหนดให้ชัดเจน เช่น กำหนด

ว่าห้องสมุดจะเลือกหนังสือเพื่อสนองความต้องการของครูอาจารย์ นักเรียน หรือเลือกเฉพาะหนังสือที่ดีที่สุดและตรงตามหลักสูตรที่มีการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษานั้น ๆ เท่านั้น เป็นต้น

1.1.3                                                               วิธีการเลือกและพิจารณาคุณค่าของวัสดุสารนิเทศ  ควรกำหนด

วิธีการกำหนดวิธีการเลือกและวางหลักเกณฑ์ที่จะใช้พิจารณาเลือกหนังสือและวัสดุประเภทต่างๆ ชัดเจน

1.1.4                                                               ประเภทวัสดุสารนิเทศ  ควรกำหนดว่าห้องสมุดจะรวบรวมวัสดุ

ประเภทใดบ้าง เช่น ควรมีเฉพาะหนังสือหรือวารสาร  หรือจะต้องมีสิ่งพิมพ์รัฐบาล เอกสารเฉพาะวิชาต่างๆ โสตทัศนวัสดุฯลฯ เป็นจำนวนมากน้อยเพียงน้อย เป็นต้น

                1.2   หลักการเลือกหนังสือ

                                1.2.1   ในการเลือกและซื้อหนังสือ ควรเลือกให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ

                                ห้องสมุด

1.2.2   การจัดสรรงบประมาณ พิจารณาจัดสรรงบประมาณเพื่อการจัดซื้อหนังสือให้ได้สัดส่วนสมดุลกันในทุกสาขาวิชา ตามความต้องการของผู้ใช้ห้องสมุด ตามความสำคัญและตามความจำเป็น

1.2.3   เลือกหนังสือที่มีเนื้อหาและภาพที่ไม่เป็นพิษเป็นภัยต่อสังคมหรือขัดข้องต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน ไม่ก่อกวนความเรียบร้อยสงบสุขของสังคม

1.2.4   เลือกหนังสือที่มีวิธีเขียนและเนื้อหาเหมาะแก่ระดับความรู้และความเข้าใจของผู้ใช้ห้องสมุด  บรรณารักษ์จึงต้องตระหนักอยู่เสมอว่ากำลังเลือกหนังสือสำหรับห้องสมุดประเภทใดและใครเป็นผู้ใช้ห้องสมุด

1.2.5   เลือกหนังสือที่มีเนื้อหาและข้อมูลต่างๆ  ถูกต้อง เชื่อถือได้และทันเหตุการณ์

1.2.6  พิจารณาคุณค่าของหนังสือนั้นๆ โดยอาศัยหลักการประเมินคุณค่าหนังสือแต่ละประเภทมาประกอบการพิจารณา กล่าวคือ

                1)   หนังสือประเภทวิชาการหรือตำรา  หนังสือประเภทนี้เนื้อหาจะต้องมีความถูกต้องไม่แย้งกันเอง  ข้อมูลทันสมัย มีวิธีเขียนเหมาะแก่ระดับของผู้ใช้  ใช้ภาษาชัดเจน  เนื้อหาลำดับ  ขั้นตอนสัมพันธ์กันดี  มีภาพ ตาราง สารบัญ ดรรชนี เชิงอรรถ บรรณานุกรม ช่วยกันค้นได้ง่าย

                2)   หนังสือประเภทสารคดี  เป็นหนังสือที่เสนอสาระด้วยวิธีการเขียนที่ชวนอ่านแตกต่างจากหนังสือประเภทวิชาการหรือตำรา ซึ่งมุ่งเน้นเนื้อหาลึกซึ้งหรือตามหลักสูตร  หนังสือสารคดีอาจมีการแทรกความคิดหรือการวิจารณ์ที่ชวนให้ผู้อ่านติดตามต่อไปด้วย   สิ่งที่ควรพิจารณาพิ่มเติมคือ  ความรู้ที่จะให้ต้องมีคุณค่าในทางสร้างสรรค์  เสริมสร้างคุณธรรมและค่านิยมที่ดี  สร้างความเจริญงอกงามและปลูกฝังอดมคติให้เกิดขึ้นในจิตใจ

                3)   หนังสือบันเทิงคดีเป็นหนังสือที่เขียนขึ้นจากจินตนาการของผู้เขียน ซึ่งต้องการให้ความบันเทิงและความเพลิดเพลินแก่ผู้อ่านเป็นหลัก อาจสอดแทรกความรู้และความคิดต่างๆ ไว้ด้วย แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ได้